วันศุกร์ที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2550

ผู้เข้าแข่งขัน
??? ?????

วิทยากรพิเศษประจำสัปดาห์

อาหารและอุปกรณ์การกิน
อุปกรณ์ส่องสว่างและคีมอเนกประสงค์
เครื่องอุปโภค
อุปกรณ์จดบันทึก
อุปกรณ์ตัด ติด ต่อ ห่อหุ้ม
โทรศัพท์มือถือที่ใช้โทรได้เพียงครั้งเดียวไม่เกิน 1 นาที
อุปกรณ์ผูกมัด
ปริศนา ที่จะใช้ในภารกิจที่ 3 ซึ่งมาในรูปของ ภาพตึกเจ้าพระยาอภัยภูเบศร เมื่อพลิกด้านหลังจะเจอตัวเลข 5 สี อัจฉริยะข้ามคืน ล้านที่ 30 อุปกรณ์ในชุดยังชีพ
จับคู่ภาพสมุนไพร

ภารกิจที่ 1
อันดับ 1 ชลนวัตภรณ์ นักโปรแกรมสมอง - ยุทธนา อ.นิติฯทุนเรียนดี 10 ครั้ง
อันดับ 2 ชาญ ผกก.หนังโฆษณา นักล่ารางวัล - สุพร อ.อนุบาล-ป.โท 11 ครั้ง
อันดับ 3 ดร.อดิสร ผู้เชี่ยวชาญ นาโนเทคโนโลยี - ฤทธิชัย ติวเตอร์คณิตศาสตร์ 12 ครั้ง
อันดับ 4 กฤษณะ หัวหน้าทัวร์สแกนดิเนเวีย - ณรงคชนม์ ผจก.วิศวกรระดับนานาชาติ 16 ครั้ง (ตกรอบ)

ผลการจับคู่และผลการแข่งขัน
นับยาลูกกลอนจำลอง 12,345 เม็ด จาก 50,000 เม็ด

ภารกิจที่ 2
อันดับ 1 ฤทธิชัย ติวเตอร์คณิตศาสตร์ - ชาญ ผกก.หนังโฆษณา นักล่ารางวัล นับได้จริง 12,425 เม็ด คลาดเคลื่อน 80 เม็ด
อันดับ 2 ชลนวัตภรณ์ นักโปรแกรมสมอง - ดร.อดิสร ผู้เชี่ยวชาญ นาโนเทคโนโลยี นับได้จริง 11,855 เม็ด คลาดเคลื่อน 490 เม็ด
อันดับ 3 สุพร อ.อนุบาล-ป.โท - ยุทธนา อ.นิติฯทุนเรียนดี นับได้จริง 10,468 เม็ด คลาดเคลื่อน 1,877 เม็ด(ตกรอบ)

ผลการจับคู่และผลการแข่งขัน
ถอดรหัส

ภารกิจที่ 3

ชาญ ผกก.หนังโฆษณา นักล่ารางวัล (เข้าชิงคนที่ 1)
ดร.อดิสร หัวหน้านักวิจัยด้านนาโนเทคโนโลยี (เข้าชิงคนที่ 2)
ชลนวัตภรณ์ นักโปรแกรมสมอง ตกรอบ
ฤทธิชัย ติวเตอร์คณิตศาสตร์ ตกรอบ ผลการแข่งขัน
"หินอ่อนแจ้งพระแก้ว"

รหัสลับสัปดาห์นี้เกี่ยวข้องกับวัดที่ปรากฏบนหน้าก้อยของเหรียญกษาปณ์ไทย
หินอ่อน หมายถึงวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม (Marble Temple) ปรากฏบนเหรียญ 5 บาท
แจ้ง หมายถึงวัดอรุณราชวราราม (The Temple Of Dawn) ปรากฏบนเหรียญ 10 บาท
พระแก้ว หมายถึงวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ปรากฏบนเหรียญ 1 บาท
รหัสลับประจำสัปดาห์คือ 5101 ภารกิจสุดท้าย - ตอบคำถาม
ตึกเจ้าพระยาอภัยภูเบศรนั้น ถูกสร้างขึ้นโดยเจ้าพระยาอภัยภูเบศร(ชุ่ม อภัยวงศ์) ซึ่งเคยเป็นผู้สำเร็จราชการมณฑลบูรพา ซึ่งประกอบไปด้วย 4 จังหวัดคือ พระตะบอง เสียมราฐ ศรีโสภณ และพนมสก ซึ่งท่านเจ้าพระยาอภัยภูเบศรได้สร้างตึกหลังนี้ขึ้นเพื่อให้เป็นที่ประทับแรมในการเสด็จประพาสเมืองปราจีนบุรีของ ร.5 โดยท่านเจ้าพระยาอภัยภูเบศรไม่เคยใช้ตึกหลังนี้เป็นที่พักอาศัยส่วนตัวเลย ท่านได้ใช้ตึกหลังนี้เพียงครั้งเดียวเท่านั้นคือ เมื่อท่านถึงแก่อสัญกรรมด้วยโรคเบาหวานจึงได้ใช้ตึกหลังนี้ตั้งบำเพ็ญกุศลเป็นครั้งสุดท้าย ซึ่งต่อมาตึกเจ้าพระยาอภัยภูเบศรนั้น ก็ได้กลายเป็นหนึ่งในโรงพยาบาลประจำจังหวัดยุคแรกของไทย ซึ่งมีด้วยกัน 19 แห่ง ซึ่งแต่เดิมมีชื่อว่าโรงพยาบาลปราจีนบุรี ที่น่าสนใจก็คือ ตึกเจ้าพระยาอภัยภูเบศรที่เข้าใจว่ามีอยู่เพียงแห่งเดียวเท่านั้น ที่จริงมีอยู่ 2 แห่ง เเล้วตึกเจ้าพระยาอภัยภูเบศรอีกหลังอยู่ที่จังหวัดอะไร
คำตอบ:พระตะบอง(อยู่ที่กัมพูชา)

ไม่มีความคิดเห็น: